โรคออฟฟิศซินโดรมมักเกิดกับผู้ที่ต้องนั่งทำงานท่าเดิมติดต่อกันเป็นเวลานาน ซึ่งส่งผลให้กล้ามเนื้อตั้งแต่บริเวณคอ หลัง และสะโพก มีอาการตึง ปวด ตามมา อย่างไรก็ตาม การรักษาอาการดังกล่าวทำได้ด้วยการแปะพลาสเตอร์แก้ปวด ซึ่งพลาสเตอร์แก้ปวด จุดเด่น คือช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อยระยะเริ่มต้น โดยปัจจุบันพลาสเตอร์แก้ปวด มีจำหน่ายด้วยกัน 2 สูตร ได้แก่ สูตรร้อน และสูตรเย็น ทั้งนี้ สรรพคุณที่น่าสนใจของพลาสเตอร์แก้ปวดเมื่อยจะมีอะไรบ้างนั้น เราไปติดตามกันเลย
มีอาการปวดเมื่อย ใช้พลาสเตอร์บรรเทาปวด Counterpain Plaster #ปวดปุ๊บแปะปั๊บ ใช้ง่าย แผ่นบาง ยืดหยุ่น ติดแน่น เรียบเนียน
เอกสารกํากับยา
Levomenthol
เลขทะเบียนยา 1C 22/56
สรรพคุณ : Menthol ในความเข้มข้นต่ำๆ สามารถยับยั้งการนำกระแสประสาทของ C และ A-delta fiber ใช้บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ เนื่องจากการพลิกหรือเคล็ด การช้ำบวมจากการกระแทก การบาดเจ็บระหว่างการออกกำลังกาย
วิธีใช้ : ผู้ใหญ่และเด็กอายุมากกว่า 2 ปี ให้ทําความสะอาดผิว แล้วทาบริเวณที่เป็น วันละ 3-4 ครั้ง ใช้ร่วมกับผ้าพันแผลหรือ ice packs ได้
คำเตือน : เด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้
: เก็บที่อุณหภูมิต่ำกว่า 30 °C
*โปรดตรวจสอบราคา ณ จุดขาย ที่ร้านขายยาชั้นนำทั่วประเทศ
เอกสารกํากับยา
Methyl Salicylate 15%, Menthol 5%, Camphor 3%
เลขทะเบียนยา 2C 13/56
สรรพคุณ : บรรเทาอาการปวดเมื่อยตามร่างกาย
วิธีใช้ : ทาวันละ 3-4 ครั้ง บริเวณที่มีอาการปวดเมื่อย
คําเตือน : ห้ามรับประทาน เก็บให้พ้นมือเด็ก
: ห้ามใช้กับบาดแผลถลอก หรือเนื้อเยื่ออ่อน
: การใช้ในเด็กอายุต่ำกว่า 2 ปี ควรปรึกษาแพทย์
*โปรดตรวจสอบราคา ณ จุดขาย ที่ร้านขายยาชั้นนำทั่วประเทศ
เลขทะเบียนยา 2C 7/56 (N)
สรรพคุณ : เจลทาบรรเทาอาการปวดและอักเสบ เนื่องจากข้อเสื่อม ปวดข้อ
: ลดอาการปวดและอักเสบ
: เนื้อเจลใสไม่เหนียวเหนอหนะ
คําเตือน : ยานี้อาจทําให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ทางผิวหนัง หากพบอาการผิดปกติทางผิวหนัง ควรหยุดยาทันทีและรีบปรึกษาแพทย์
: ห้ามใช้ในผู้ที่แพ้ยานี้ หรือผู้ที่มีอาการหอบหืด ลมพิษ หรือโพรงจมูกอักเสบ แบบเฉียบพลันจากการแพ้ยาแอสไพริน (Aspirin) หรือยากลุ่มต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ (NSAIDs)
*โปรดตรวจสอบราคา ณ จุดขาย ที่ร้านขายยาชั้นนำทั่วประเทศ และ สั่งซื้อทาง online ได้ที่
Counterpain Medicated Plaster Warm [พลาสเตอร์บรรเทาปวด สูตรร้อน]
ประกอบด้วย :
Glycol Salicylate 2.0%, L-Menthol 1.0%
เลขทะเบียนยา 1C 22/64
สรรพคุณ : ใช้บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ
วิธีใช้ : เช็ดทำความสะอาดบริเวณกล้ามเนื้อที่มีอาการปวดให้แห้ง จากนั้นปิดพลาสเตอร์ลงตรงบริเวณที่มีอาการปวด หากพลาสเตอร์ที่มีความยืดหยุ่นดี จะช่วยทำให้ติดได้ง่ายขึ้น โดยแนะนำให้เปลี่ยนพลาสเตอร์วันละ 1-2 ครั้งเพื่อสุขอนามัยที่ดีต่อผิวหนัง
คำเตือน : อย่าใช้พลาสเตอร์นี้ในบริเวณเยื่อบุอ่อน, ตา หรือบริเวณบาดแผลเปิด เก็บไว้อุณหภูมิต่ำกว่า 30 °C
*โปรดตรวจสอบราคา ณ จุดขาย ที่ร้านขายยาชั้นนำ และร้านสะดวกซื้อทั่วประเทศ
และสามารถสั่งซื้อทาง Online ได้ที่
Counterpain Medicated Plaster Cool [พลาสเตอร์บรรเทาปวด สูตรเย็น]
ประกอบด้วย :
L-Menthol 4.9%
เลขทะเบียนยา 1C 22/64
สรรพคุณ : ใช้บรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ
วิธีใช้ : เช็ดทำความสะอาดบริเวณกล้ามเนื้อที่มีอาการปวดให้แห้ง จากนั้นปิดพลาสเตอร์ลงตรงบริเวณที่มีอาการปวด หากพลาสเตอร์ที่มีความยืดหยุ่นดี จะช่วยทำให้ติดได้ง่ายขึ้น โดยแนะนำให้เปลี่ยนพลาสเตอร์วันละ 1-2 ครั้งเพื่อสุขอนามัยที่ดีต่อผิวหนัง
คำเตือน : อย่าใช้พลาสเตอร์นี้ในบริเวณเยื่อบุอ่อน, ตา หรือบริเวณบาดแผลเปิด เก็บไว้อุณหภูมิต่ำกว่า 30 °C
*โปรดตรวจสอบราคา ณ จุดขาย ที่ร้านขายยาชั้นนำ และร้านสะดวกซื้อทั่วประเทศ
และสามารถสั่งซื้อทาง Online ได้ที่
นอกจากผลิตภัณฑ์ที่เป็นรูปแบบแผ่นแปะแก้ปวด ยังมี ยาแก้ปวดกล้ามเนื้อที่มี 3 สูตรดังต่อไปนี้
รูปแบบเจลสูตรเย็น และเป็นยา แก้กล้ามเนื้ออักเสบที่ใช้บรรเทาอาการปวดเนื่องจากการพลิก เคล็ด หรือการช้ำบวมที่มีสาเหตุเกิดจากการกระแทก และได้รับบาดเจ็บระหว่างออกกำลังกาย
รูปแบบครีม เป็นยาแก้ปวดกล้ามเนื้อสูตรร้อน ซึ่งมีคุณสมบัติคล้ายพลาสเตอร์แก้ปวดเมื่อย ที่จะช่วยแก้กล้ามเนื้ออักเสบตามร่างกายบริเวณคอ บ่า ไหล่ และหลังจากกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะเป็นการนั่งทำงานท่าเดิมติดต่อกันเป็นเวลานาน หรือการยกของหนักด้วยท่าทางที่ไม่ถูกต้อง
เมื่อแปะแผ่นแก้ปวดสูตรร้อน พลาสเตอร์แก้ปวดเมื่อยจะทำหน้าที่รักษากล้ามเนื้ออักเสบชนิดที่เรื้อรังได้ เช่น อาการปวดหลัง หรือปวดเข่า เรื้อรัง นอกจากนี้ แผ่นแปะบรรเทาอาการปวดสูตรร้อน หรือพลาสเตอร์แก้ปวด จุดเด่น คือมีคุณสมบัติระบายอากาศได้ดี ลอกออกง่าย ไม่ทิ้งร่องรอยของกาวตกค้างที่ผิวหนัง
พลาสเตอร์แก้ปวด จุดเด่น คือช่วยบรรเทาอาการปวดเคล็ด ตึง ฟกช้ำ กล้ามเนื้อโดยเฉพาะ แผ่นหลัง และไหล่ เมื่อพลาสเตอร์แก้ปวดเมื่อยถูกแปะลงบริเวณที่ปวดจะให้ความรู้สึกสบายนานหลายชั่วโมง อีกทั้งยังออกฤทธิ์ ช่วยลดอาการเป็นกล้ามเนื้ออักเสบแผ่นแปะระบายอากาศได้ดี จึงลอกออกได้สะดวก ไม่ทิ้งคราบหรือร่องรอยบนผิวหนัง
ก่อนใช้พลาสเตอร์แก้ปวดเมื่อย เราควรเช็ดทำความสะอาดบริเวณกล้ามเนื้อที่มีอาการปวดให้แห้ง จากนั้นปิดพลาสเตอร์ลงตรงบริเวณที่มีอาการปวด ทั้งนี้ พลาสเตอร์แก้ปวด จุดเด่นที่เห็นชัดอีกอย่างคือ มีความยืดหยุ่นดี และช่วยทำให้ติดได้ง่ายขึ้น อย่างไรก็ตาม แนะนำให้เปลี่ยนพลาสเตอร์วันละ 1-2 ครั้งเพื่อสุขอนามัยที่ดีต่อผิวหนัง